เอ็นเอชเค เวิลด์ > มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ > หน้าแรกภาษาไทย > เพลินเที่ยวกับภาษาญี่ปุ่น

เพลินเที่ยวกับภาษาญี่ปุ่น

สำนวนที่จำเป็นสำหรับการท่องเที่ยวในญี่ปุ่นครั้งแรกมีอะไรบ้าง
รายการ 3 นาทีจะแนะนำสำนวนง่าย ๆ ที่สามารถนำไปใช้ได้ทันทีที่มาถึงญี่ปุ่น ทางรายการนำเสนอเกร็ดเล็ก ๆ น้อย ๆ สำหรับการไปเที่ยวตามที่ต่าง ๆ ทั่วญี่ปุ่นด้วย จดจำสำนวนไว้และท่องเที่ยวให้สนุกยิ่งขึ้น

"เพลินเที่ยวกับภาษาญี่ปุ่น" ผลิตจาก "มาเรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ" ซึ่งเป็นรายการวิทยุที่ได้รับความนิยมสูงสุดรายการหนึ่ง

#1

II DESU KA? ได้ไหม

#1

เผยแพร่เมื่อ: 9 สิงหาคม 2560

เมื่อต้องการถามว่าได้รับอนุญาตให้ทำอะไรบางอย่างหรือไม่ พูดว่า II DESU KA (ได้ไหม)

ต่อ
#2

SUMIMASEN, ขอโทษ / ขอบคุณ

#2

เผยแพร่เมื่อ: 9 สิงหาคม 2560

SUMIMASEN นอกจากใช้เพื่อกล่าวขอโทษแล้ว ยังใช้ได้ในหลายสถานการณ์ด้วย เป็นสำนวนที่นำไปใช้ได้สะดวก

ต่อ
#3

DOKO DESU KA? ที่ไหน

#3

เผยแพร่เมื่อ: 9 สิงหาคม 2560

ถ้าหลงทาง สามารถถามว่า DOKO DESU KA (ที่ไหน) ต่อท้ายชื่อสถานที่ที่ต้องการไป

ต่อ
#4

ลองใช้ดู (#1-3)

#4

เผยแพร่เมื่อ: 9 สิงหาคม 2560

ลองใช้ 3 สำนวน: II DESU KA, SUMIMASEN และ DOKO DESU KA

ต่อ
#5

ONEGAI SHIMASU. รบกวนด้วย

#5

เผยแพร่เมื่อ: 2 ธันวาคม 2560

เมื่อจะขอให้คนอื่นทำอะไรบางอย่างให้ ใช้สำนวน ONEGAI SHIMASU (รบกวนด้วย)

ต่อ
#6

DAIJOBU DESU KA? ไม่เป็นไรใช่ไหม

#6

เผยแพร่เมื่อ: 2 ธันวาคม 2560

เมื่อต้องการถามว่า ทำบางอย่างแล้วจะเป็นอะไรไหม พูดว่า DAIJOBU DESU KA? (ไม่เป็นไรใช่ไหม) สำนวนนี้ใช้แสดงความห่วงใยผู้อื่นก็ได้

ต่อ
#7

DOMO คำหลายความหมายใช้สะดวก

#7

เผยแพร่เมื่อ: 3 ธันวาคม 2560

DOMO มีหลายความหมาย คือ “มาก” “หวัดดี” หรือ “ขอบใจ” ขึ้นอยู่กับสถานการณ์

ต่อ
#8

คำเลียนเสียงและท่าทาง

#8

เผยแพร่เมื่อ: 3 ธันวาคม 2560

แนะนำตัวอย่างคำเลียนเสียงและท่าทาง ภาษาญี่ปุ่นมีคำลักษณะนี้อยู่มากมาย

ต่อ
เอมี่ โอตะ
ผู้ดำเนินรายการ: เอมี่ โอตะ
มีเชื้อสายญี่ปุ่นทางพ่อกับสวิตเซอร์แลนด์ทางแม่
เป็นพิธีกรที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางทางโทรทัศน์และวิทยุ เป็นนางแบบ และผู้บรรยาย
ปัจจุบันเป็นพิธีกรร่วมในรายการ "J-Trip Plan" ของ NHK WORLD TV