#2
แนะนำตัวเองโดยบอกชื่อและอาชีพ
ผู้พักอาศัยของ "บ้านคุณฮารุ" พาทัมนักศึกษาจากเวียดนามมาที่บ้านแบ่งเช่าแห่งนี้หลังจากได้พบเธอโดยบังเอิญ
ただいま。
Tadaima.
กลับมาแล้วค่ะ
はーい。
Haai.
ค่ะ
ただいま
tadaima
กลับมาแล้วค่ะ/ครับ
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
新しい
atarashii
ใหม่
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
住人
juunin
ผู้พักอาศัย, ผู้อยู่อาศัย
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
着く
tsuku
มาถึง, ไปถึง
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
はい
hai
ค่ะ/ครับ
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
ようこそ
yookoso
ยินดีต้อนรับ
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
いらっしゃる
irassharu
มา (รูปยกย่อง)
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
え
e
อ๊ะ
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
ロボット
robotto
หุ่นยนต์
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
そう
soo
ใช่, ใช่แล้ว
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
大家
ooya
เจ้าของบ้าน
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
はじめまして
hajimemashite
สวัสดีค่ะ/ครับ (ใช้กล่าวเมื่อพบกันครั้งแรก)
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
学生
gakusee
นักศึกษา, นักเรียน
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
よろしくお願いします
yoroshiku onegai-shimasu
ยินดีที่ได้รู้จักค่ะ/ครับ
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
แนะนำตัวเองโดยบอกชื่อและอาชีพ
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
"desu" ดังที่ปรากฏในรูปแบบ " [ชื่อ/อาชีพ] desu" จะต่อท้ายคำนามและทำให้กลายเป็นประโยค ประโยค "A wa B desu" แปลว่า "A คือ B" ในประโยคนี้ A คือหัวข้อหรือประธาน และ B อธิบายเกี่ยวกับส่วนนั้น ในสำนวนหลัก ส่วนที่ตรงกับ "A wa" คือ "Watashi wa" ซึ่งแปลว่า "ฉัน"/ "ผม" นั้นถูกละไว้
การละหัวข้อหรือประธาน:
หัวข้อหรือประธานมักจะถูกละถ้าเป็นที่ทราบกันชัดเจนจากบริบท เช่น ในกรณีแนะนำตัวเอง สามารถละ "Watashi wa" หรือ "ฉัน" จาก "Watashi wa Tamu desu" ที่แปลว่า "ฉันทัมค่ะ" ได้ และพูดแค่เพียง "Tamu desu"
หน้าอ้างอิง
1เมื่อจะพูดประโยคนี้เป็นภาษาญี่ปุ่น ใน 3 ตัวเลือกนี้ ข้อใดถูกต้อง
สวัสดีครับ ทอมัสครับ เป็นพนักงานบริษัทครับ
ทอมัส | พนักงานบริษัท
トーマス | 会社員
Toomasu | kaishain
2ลองพูดประโยคภาษาญี่ปุ่นโดยใช้คำศัพท์ต่อไปนี้
สวัสดีค่ะ/ครับ (ใช้กล่าวเมื่อพบกันครั้งแรก) [ชื่อ] ค่ะ/ครับ เป็น [อาชีพ] ค่ะ/ครับ
はじめまして。【ชื่อ】です。【อาชีพ】です。
Hajimemashite. 【ชื่อ】 desu. 【อาชีพ】 desu.
เอริน | ครู
エリン | 教師
Erin | kyooshi
3ลองพูดประโยคภาษาญี่ปุ่นโดยใช้คำศัพท์ต่อไปนี้
สวัสดีค่ะ/ครับ (ใช้กล่าวเมื่อพบกันครั้งแรก) [ชื่อ] ค่ะ/ครับ เป็น [อาชีพ] ค่ะ/ครับ
はじめまして。【ชื่อ】です。【อาชีพ】です。
Hajimemashite. 【ชื่อ】 desu. 【อาชีพ】 desu.
ซิงห์ | วิศวกร
シン | エンジニア
Shin | enjinia
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน"เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เสร็จแล้ว
พูดสำนวนนี้กับผู้ที่จะดูแลเราหรือทำอะไร ๆ ให้เรานับจากนี้ไป สำนวนนี้มักใช้ในการแนะนำตัวเอง ถ้าคนที่เราพูดด้วยเป็นเพื่อนหรืออายุน้อยกว่า จะพูดสั้น ๆ ว่า "yoroshiku" ก็ได้
ถุงความรู้คุณฮารุ
ตัวอักษรญี่ปุ่น
ภาษาญี่ปุ่นมีตัวอักษร 3 ชนิด ได้แก่ คันจิ ฮิรางานะ และคาตากานะ เช่น เมื่อจะเขียนประโยคภาษาญี่ปุ่น "ฉันทัมค่ะ" จะได้ว่า
私はタムです
"私 คือ ตัวอัษรคันจิ "は" และ "です" คือ ตัวอักษรฮิรางานะ และ "タム" คือ ตัวอักษรคาตากานะ
ตัวอักษรคาตากานะใช้เขียนชื่อและคำที่มาจากภาษาอื่น นอกจากนั้นใช้ตัวอักษรฮิรางานะ ตัวอักษรคาตากานะและฮิรางานะ
เป็นตัวอักษรแสดงเสียง ประดิษฐ์ขึ้นจากตัวอักษรคันจิ ตัวอักษรคันจิคือตัวอักษรแทนความหมาย ใช้เขียนแสดง
ส่วนหลักเพื่อสื่อความหมาย
คาตากานะ: a
ฮิรางานะ: a
คันจิ: yama (ภูเขา)
ตัวอย่างป้ายที่เขียนเป็นภาษาญี่ปุ่น
หน้าอ้างอิง
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" แล้ว
เพิ่มเข้าไปใน "สมุดของฉัน" เรียบร้อยแล้ว