บทเรียนที่ 4
กลับมาแล้ว

แอนนากลับมาที่หอพัก พร้อมกับซะกุระ ติวเตอร์ของเธอ คุณแม่ของหอพักออกมาต้อนรับทั้งคู่
ประโยคสำคัญ:
TADAIMA
บทสนทนา
アンナ | ただいま。 | กลับมาแล้ว
|
---|---|---|
แอนนา | TADAIMA.
กลับมาแล้ว
|
|
寮母 | お帰りなさい。 | ยินดีต้อนรับกลับบ้านค่ะ
|
คุณแม่ประจำหอพัก | OKAERINASAI.
ยินดีต้อนรับกลับบ้านค่ะ
|
|
さくら | こんにちは。 | สวัสดีค่ะ
|
ซะกุระ | KONNICHIWA.
สวัสดีค่ะ
|
|
寮母 | あなたも留学生ですか。 | คุณก็เป็นนักศึกษาต่างชาติหรือคะ
|
คุณแม่ประจำหอพัก | ANATA MO RYÛGAKUSEI DESU KA.
คุณก็เป็นนักศึกษาต่างชาติหรือคะ
|
|
さくら | いいえ、私は留学生ではありません。 日本人の学生です。 |
ไม่ใช่ค่ะ ดิฉันไม่ใช่นักศึกษาต่างชาติ เป็นนักศึกษาญี่ปุ่นค่ะ |
ซะกุระ | IIE, WATASHI WA RYÛGAKUSEI DEWA ARIMASEN. NIHON-JIN NO GAKUSEI DESU. ไม่ใช่ค่ะ ดิฉันไม่ใช่นักศึกษาต่างชาติ เป็นนักศึกษาญี่ปุ่นค่ะ
|
หลักไวยากรณ์
DEWA ARIMASEN
DESU คือ คำสุภาพที่ใช้ปิดท้ายประโยค เช่น HAI, WATASHI WA NIHON-JIN DESU (ใช่ครับ ผมเป็นคนญี่ปุ่นครับ)
DEWA ARIMASEN คือ รูปปฏิเสธของ DESU เช่น IIE, WATASHI WA NIHON-JIN DEWA ARIMASEN (ไม่ใช่ครับ ผมไม่ใช่คนญี่ปุ่นครับ) สำหรับหัวข้อนี้ สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ใน "ครูสอนภาษาญี่ปุ่น"
ครูสอนภาษาญี่ปุ่น
วิธีการแต่งประโยคปฏิเสธ
คำอธิบายโดยใช้ตัวอย่างประโยค “ดิฉันเป็นคนญี่ปุ่นค่ะ” มีดังนี้
คำเลียนเสียงและท่าทาง
ประตู
ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่มีคำเลียนเสียงธรรมชาติและท่าทางอยู่มากมาย คำลักษณะนี้ได้รับการอธิบายผ่านเสียง โดยครอบคลุมคำหลากหลายประเภท ตั้งแต่เสียงร้องของสัตว์ไปจนถึงคำแสดงความรู้สึก
บันทึกของแอนนา
เมื่อซะกุระซังเข้าไปในหอพักและถอดรองเท้า เธอหันหัวรองเท้าให้ชี้ไปตรงทางออกและวางรองเท้าอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อยที่โถงทางเข้า คราวหน้าถ้าดิฉันไปเยี่ยมบ้านคนอื่น ก็จะทำแบบเดียวกันนี้ค่ะ
