บทเรียนที่ 23
ถูกคุณแม่ดุค่ะ

ตอนคุยกันที่มหาวิทยาลัย ซะกุระถามแอนนาถึงวันที่เธอกลับหอพักสายจนเลยเวลาประตูปิด
ประโยคสำคัญ:
OKÂSAN NI SHIKARAREMASHITA
บทสนทนา
さくら | この間は門限に間に合った? | วันก่อน ทันประตูปิดไหม
|
---|---|---|
ซะกุระ | KONOAIDA WA MONGEN NI MANIATTA?
วันก่อน ทันประตูปิดไหม
|
|
アンナ | いいえ。間に合いませんでした。 それで、お母さんに叱られました。 |
ไม่ ไม่ทันค่ะ ก็เลยถูกคุณแม่ดุค่ะ |
แอนนา | IIE. MANIAIMASEN DESHITA. SOREDE, OKÂSAN NI SHIKARAREMASHITA. ไม่ ไม่ทันค่ะ
ก็เลยถูกคุณแม่ดุค่ะ
|
|
アンナ | 掃除当番が3回増えました。 | เวรทำความสะอาดเพิ่มขึ้น 3 ครั้งค่ะ
|
แอนนา | SÔJI TÔBAN GA SANKAI FUEMASHITA.
เวรทำความสะอาดเพิ่มขึ้น 3 ครั้งค่ะ
|
|
さくら | それは大変だったね。 | นั่นลำบากนะ
|
ซะกุระ | SORE WA TAIHEN DATTA NE.
นั่นลำบากนะ
|
หลักไวยากรณ์
MASEN DESHITA
ผันคำกริยารูป MASU ให้เป็นรูปปฏิเสธที่เป็นอดีตด้วยการแทนที่ MASU ด้วย MASEN DESHITA
e.g.)MANIAIMASU แปลว่า "ทัน"
>> รูปปฏิเสธ: MANIAIMASEN แปลว่า "ไม่ทัน"
>> รูปปฏิเสธที่เป็นอดีต: MANIAIMASEN DESHITA แปลว่า "ไม่ทัน"
ครูสอนภาษาญี่ปุ่น
สำนวนถูกกระทำ
ใช้สำนวนถูกกระทำเมื่อพูดจากมุมมองของคนที่ถูกกระทำ ซึ่งก็คือมุมมองของผู้รับการกระทำนั่นเอง เราใช้กริยารูปถูกกระทำ และบ่งชี้ว่าใครเป็นผู้กระทำกริยานั้นด้วยคำช่วย NI ต่อไปเป็นวิธีการผันคำกริยารูป MASU ไปเป็นรูปถูกกระทำ
คำเลียนเสียงและท่าทาง
การทำความสะอาด
ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่มีคำเลียนเสียงธรรมชาติและท่าทางอยู่มากมาย คำลักษณะนี้ได้รับการอธิบายผ่านเสียง โดยครอบคลุมคำหลากหลายประเภท ตั้งแต่เสียงร้องของสัตว์ไปจนถึงคำแสดงความรู้สึก
บันทึกของแอนนา
การทำความสะอาดเป็นสิ่งที่เหนื่อยนะคะ แต่เมื่องานเสร็จแล้ว ทุกอย่างแลดูสะอาดเป็นเงางาม PIKA PIKA ดิฉันรู้สึกดีจังเลยค่ะ
